Assingment

PROJECT NU LIBRARY

งานนี้ก็เป็นงานตอนปีสองเทอม 2ครับ เป็น Project ที่ 2 เป็นการออกแบบหอสมุดของ มหาวิทยาลัยนเรศวร
โดยพื้นที่ที่สามารถออกแบบได้ก็คือหอสมุดที่เดิมแหละคับ ส่วน site ก็คือ กว้าง 70 เมตร และ ยาว 100 เมตร
การออกแบบ ให้ออกแบบอาคารหอสมุดหลังใหม่โดยต้องคำนึงถึงทิศทาง แดด ลม ฝน และปัจจัยอื่นๆเช่น ทางสัญจร ทางเข้า site มุมมองจากภายในอาคาร และมุมมองภายในอาคารให้มีความสัมพันกัน และ ความน่าสนใจของงานที่เราจะออกแบบ

จากการแบ่งกลุ่มตรวจแบบคับ

ได้ตรวจแบบกับอาจารย์ เล็ก คับ
แล้วก็เพื่อนๆอีก 8 คนคับ

การตรวจแบบครั้งที่ 1

Concept (แนวความคิด)
ความต่อเนื่องของพื้นที่ใช้สอย อยากให้รูปทรงอาคารเป็นทรงกระบอก เพื่อให้พื้นที่ภายในสามารถเชื่อมต่อกันได้สดวกเพราะรูปทรงมีความสัมพันกัน
ซึ่งจะทำให้ทิศทางการสัญจรมีความน่าสนใจและสามารถ เชื่อมต่อกันได้ทุกจุดของตัวอาคาร

space
– ต้องการให้มีการเปิด พื้นที่รับแสงเพื่อการประหยัดในเรื่องของพลังงาน
– เกิดความสัมพันกันของคนในตัวอาคาร ซึ่งผู้ใช้อาคารสามารถมองเห็นกิจกรรมต่างๆภายในอาคารได้โดยการเปิด Dubble Spaec
-เริ่มหา From ของอาคารว่าจะออกมาป็นแบบไหน

คอมเมนต์อาจารย์

 ระยะห่างระหว่างตึก 6 เมตร
 ใช้สะพานเชื่อม
 ความสูงอาคารสูงไม่เกิน 15 เมตร
 พื้นที่ของตัวอาคารไม่เกิน 2000 ตรม.
 พื้นที่ห้ามเกิน 1000 ตารางเมตร ของแต่ละชิ้น
 น่าจะแยกส่วนโสด ฯ
 นิตยาสาร…… อินเตอร์เน็ต
 หนังสือ
 จะทำให้คนมาใช้ได้อย่างไร(ทางเข้าไซด์)
 บันไดหนีไฟ

ตรวจแบบครั้งที่ 2

คอมเมนต์อาจารย์

– ควรจัดทางเดิน ระหว่าง คณะสถาปัตย์ฯ และ คณะศึกษาศาสตร์ ให้มีความเชื่อมโยงกันกับตัวอาคาร
– ควรขยับตัวอาคารเข้าไปทางด้านในอีกนิดนึง
– ทางเชื่อมจากตึกคณะสถาปัตย์ฯ ไกลเกิน ควรร่นอาคารมากอีก
– เรื่องของแสงที่เข้าสู่ตัวอาคาร ควรหาวัสดุที่มีความสามารถในการกันแสง และ กรองแสงมาใช้ในงาน
– เสียงจากงานระบบรบกวน(อยู่ใกล้เกิน)
– จัดวางงานระบบใหม่
– จัดส่วน service ยังไม่ค่อยดี
– จัดทำบันไดหนีไฟด้วย
– Dubble Spaec ภายในอาคารไม่ควรต่ำกว่า 8 เมตร เพราะจะให้ความรู้สึกเหมือนเป็นซอกมากกว่า
– ควรแยกลีฟไม่ควรวางใกล้กัน

ตรวจแบบครั้งที่ 3

 จัดทางเข้าสำหรับทางเข้าของ site ซึ่ง site สามารถเข้าได้ทางไหนบ้าง
 เรื่องการวางตำแหน่งของตัวอาคาร
 เรื่องทางเข้าหลัก
 การวางอาคารแนวไหนถึงจะดี
 จัดการพื้นที่ส่วนบริการ(จุดตรวจ,จุดยืมคืน,จุดฝากของ)
 เรื่องทางเข้าควรจะมีสิ่งปกคลุมเพื่อกันแดด/ฝน
 หลุมลิฟท์ลึก 1.50 เมตร
 เรื่องแนวความคิด

ตรวจแบบครั้งที่ 4

คอมเมนต์อาจารย์

– เรื่องจุดตรวจคนเข้า
– พื้นที่เก็บ/ซ่อมหนังสือมีขนาดเล็กเกิน ควรเพิ่มขนาดห้องให้มีขนาดใหญ่กว่านี้
– ห้อง MDB มีห้องเดียวก็พอเพราะใช้พื้นที่ไม่มากนัก
– เพิ่มห้องน้ำในส่วนของห้อง study
– เรื่อง ที่ว่าง และ มุมมอง
– กลับไปเคลียโครงสร้างผนังเฉืยงว่าเป็นโครงสร้างแบบไหน
– เรื่องความร้อนเข้าสู้ภายในอาคาร จะมีวิธีป้องกันอย่างไร มีวัสดุอะไรบ้างที่สามารถนำมาทำให้ตัวอาคารไม่ร้อน
– จัดพื้นที่ให้เกิดความน่าประทับใจ

Pin Up Project NU library

Concept
การเปิดมุมมอง เพื่อต้องการให้ตัวอาคารมีมุมมองที่ดี ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ที่ใช้บริการห้องสมุดเกิดความรู้สึกผ่อนคลาย ไม่น่าเบื่อ เพราะตัวอาคารออกแบบให้มีการเปิดมุมมองให้เป็นพื้นที่กว้างๆ ซึ่งทำให้สามารถมองเห็นกิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้นบริเวณภายนอกอ่คาร และผู้ที่ใช้บริการยังได้ผ่อนคลายจากการมองทัศนียภาพที่จัดขึ้นโดยการจัดพื้นที่สีเขียวบริเวณด้านหน้าอาคารตลอดจนบริเวณรอบอาคารทั้งหมด
Space
ออกแบบตัวอาคารโดยการเปิดพื้นที่ภายในให้เกิดความสัมพันธ์กันของผู้ใช้บริการจากชั้นที่ 1-3 เพื่อให้มองเห็นกิจกรรมภายใน
Light
เน้นการนำเอาแสงธรรมชาติเข้ามาใช้ในงาน เพื่อลดค่าใช้จ่ายในเรื่องของพลังงาน
ทำการออกแบบให้มีช่องแสงขนาดใหญ่ให้แสงส่องลงมาจากด้านบนสุดของตัวอาคาร
From
L Shape เพื่อช่วยในการเปิดมุมมองได้มากขึ้น
พื้นที่ภายในมีความเชื่อมต่อกัน
Material
. ใช้วัสดุที่โปร่งแสงมาใช้ในงานเพื่อให้แสงส่องเข้ามาภายในอาคารได้ คือ กระจก
วัสดธรรมชาติ เช่น ไม้ ใช้ในการกรองแสงให้กับอาคาร ซึ่งจะทำให้ตัวอาคารร้อนเกิน

LAY – OUT

คอมเมนต์อาจารย์

– เรื่องของconcept ทำไมต้องมุมมองเพาะมุมมองเป็นเรื่องที่ต้องคิดกันทุกคนอยู่แล้ว
– เรื่องของการวางตัวอาคารยังวางไม่ค่อยดี ดูเรื่องทิศแดด ลม ฝน ด้วย
– ทางเข้ายังไกลไปควรจัดให้ดูชัดว่าตรงไหนเป็นทางเข้า
– เรื่องการจัดวางชั้นวางหนังสือยังไม่น่าสนใจเหมือนชั้นวางหนังสือทั่วไป
– พื้นที่นั่งอ่านหนังสือไม่น่าใช้ น่าจะหาพื้นที่นั่งอ่านให้น่าสนใจ
– เรื่องของห้องน้ำกับความสัมพันธ์กับรูปด้าน
– ควรจัดพื้นที่จอดรถใหม่

ตรวจแบบคั้งที่ 5

ตรวจแบบครั้งนี้ก็เป็นการนำเอางานที่พึ่งขึ้เสนอรวมมาปรึกษาอาจารย์ประจำกลุ่มอีกทีหนึ่ง แล้วก็แก้ในส่วนที่อาจารย์คอมเมนต์ไว้ตอน Pin Up แล้วนำมาตรวจแบบกับอาจารย์ประจำกลุ่มอีกครั้ง อาจารย์ก็แนะนำให้นำมาปรับอยู่หลายจุด

ตรวจแบบครั้งที่ 6

คอมเมนต์อาจารย์

 ควรจัดส่วนบริการอีกนิดนึง
 ทำทางเข้าไปยังส่วนที่จะทำการต่อเติมภายหลัง
 น่าจะทำบันไดเชื่อมกับส่วนของofficeเลยเพื่อพนักงานจะได้ไม่ต้องเดินเข้าทางด้านหน้า
 ควรทำหลังคาปกคลุม ทางลาด เพื่อกันแดด ลม ฝน
 ลดพื้นที่จุดตรวจและควรจัดพื้นที่ในการเข้าแถวยืมหนังสือ
 น่าจะมีเครื่องตรวจหนังสือแบบอัตโนมัติ

ตรวจแบบครั้งที่ 7

คอมเมนต์อาจารย์

– เรื่องทางเข้าเนื่องจากทางเข้าน่าจะมีทางสำหรับรถที่ขนหนังสือและรถที่จะเข้ามาซ่อมแซมส่วนของงานระบบต่างๆ
– แก้ในส่วนของงานระบบใหม่
– น่าจะทำบันไดแยกให้พนักงานขึ้นไปออฟฟิตที่อยู่ชั้น 2 โดยไม่ต้องผ่านทางด้านหน้าของตัวอาคาร
– จัดพื้นที่ ยืม – คืน ให้มีพื้นที่ในการต่อแถวเพื่อ ยืม – คืน หนังสือได้สะดวก

JURY PROJECT NU LIBRARY

Concept
การรับรู้ ซึ่งผู้ใช้บริการสามารถรับรู้ได้ถึงกิจกรรมที่เกืดขึ้นทั้งภายในอาคารและภายนอกอาคาร ซึ่งจะทำให้ผู้ที่เข้ามาใช้บริการ รู้สึกสบาย ไม่อึดอัด เนื่องจากตัวอาคารมีการเปิดช่องเพื่อให้แสงจากธรรมชาติผ่านเข้าสู่ภายในตัวอาคารและทำให้ผู้ใช้บริการรับรู้ถึงกิจกรรมที่เกิดภายนอกอ่คาร เห็นพื้นที่สีเขียว เห็นสระน้ำ เห็นผู้คนที่เข้ามาใช้บริการ ซึ่งจะทำให้ผ้ที่มาใช้บริการไม่เกิดความเครียด

FROM
คือการนำเอาก้อนสี่เหลี่ยม 2 ก้อนมาวางแยกจากกัน แต่ใช้การเชื่อมโยงก้อนสี่เหลี่ยมทั้ง 2 ก้อนด้วยทางเชื่อมที่เป็นบันไดกระจะ และ มีการทำให้ตัวอาคารดูไม่แยกจากกันมากเกินไป โดยการทำ เพลนยื่นยาวออกมาเชื่อมกับตัวอาคารทั้ง 2 ก้อนนี้

MATERIAL
วัสดุหลักๆของโครงการนี้ก็จะเป็นกระจก และ ไม้ เป็นส่วนมาก
ซึ่งกระจกจะให้ความสว่างกับตัวอาคาร
และไม้นำมาทำเป็นระแนงเพื่อใช้กรองแสงไม่ไห้ความร้อนเข้าสู้ภายในอาคารมากเกินไป

คอมเมนต์อาจารย์

– เรื่องลิฟไม่น่ามีสองตัวไว้ติดกันอาจจะแยกไว้ส่วนขนของอีกที่นึง
– ที่อ่านหนังสือแบบท่อกลม โครงสร้างยุ่งยากเพราะเป็นแบบหล่อในที่ ดังนั้นอาจารย์จึงแนะนำให้ไปหาท่อมาทำก็ได้
– ขนาดของที่อ่านหนังสือแบบท่อเล็กเกิน
– ที่อ่านหนังสือน่าจะจัดวางให้เป็นแบบ landom ให้เห็น Volum ของแสงที่เข้ามาได้อีกด้วย

SKD
งาน สเกดดีไซน์ ของอาจารย์ อ้น คือให้ออกแบบชั้นลอยเพื่อนำมาปรับใช้กับงาน ห้องสมุด เพื่อให้มีพื้นที่ๆน่าสนใจ

PROJECT APRATMENT

โปรเจคนี้ก็เป็นโปรเจคตอนปี 2 เทอม 2 คับ เป็นโปรเจคแรก คือ โปรเจคอพาทเมนต์ ซึ่งทำเอาผมปวดหัวเป็นอย่างมาก กว่าจะเสร็จงานนี้ก็ ทำเอาผมเลือดตาแทบกระเด็น กับการอดหลับอดนอนคับโดยงานนี้มีกฎหมายควบคุมอาคารซึ่งเกี่ยวกับพื้นที่จอดรถมาให้เครียด เนื่องจากขนาดพื้นที่มีขนาดเล็กมาก เลยโดนไปเยอะกับการวางพื้นที่จอดรถคับ พื้นที่ๆออกแบบงานนี้อยู่ใกล้กับมหาหาวิทยาลัยนเรศวรคับ ซึ่งออกแบบให้นิสิต และคนทั่วไปเข้าใช้งาน
โดยจะออกแบบให้มีห้อง 3 แบบ

– แบบ studio

– แบบ one bedroom

– แบบ two bedroom

Concept การเปิดมุมมอง
โดย เปิดมุมมองให้กับผู้ใช้อาคารให้มีความสัมพันธ์กันทั้งตัวผู้ใช้งานและคนภายนอก เพื่อให้มองเห็นกิจกรรมกันได้
– จัดพื้นที่ให้มีส่วนสนับสนุนโครงการ ในการออกแบบนี้ผมเลือกส่วนของพื้นที่ ร้านกาแฟ และ ร้านสะดวกซื้อขนาดเล็ก
– นำวัสดุก่อเข้ามาใช้กับงาน เช่น อิฐแบบต่างๆ บล๊อกแก้ว หิน เป็นต้น
– ใช้วัสดุจากธรรมชาติ เช่นไม้ใผ่ เข้ามาใช้กับงาน เพื่อให้เกิดความน่าสนใจกับตัวงานคับ

การออกแบบ
1. ในส่วนของงานก็จะมี
– ห้อง common room
– ส่วนบริการเครื่องซักผ้าแบบหยอดเหรียญ
– ร้านสะดวกซื้อ
– ร้านกาแฟ
– ห้องควบคุมน้ำ
– ห้องควบคุมไฟฟ้า

[

คอมเมนต์จากอาจารย์
– เรื่องของสีของตัวอาคาร อาจารย์บอกว่าสีค่อนข้างเข้มเกิน โทนสีดูแจ่มเกินน่าจะลองใช้สีที่อ่อนกว่านี้
– พื้นที่ส่วนใต้ถุนยังไม่สัมพันกับบริบทในเมื่อต้องการให้พื้นที่สัมพันกันแต่การจัดสวนด้านหน้ากลับไม่สัมพันกัน

หลังคาหญ้าคา

หลังคาหญ้าคา
มกราคม 20, 2010 ที่ 7:11 pm (Uncategorized) · แก้ไข

หญ้าคาเป็นพืชล้มลุกที่มีอายุหลายปี มีเหง้าสีขาวแข็งอยู่ใต้ดิน ลำต้นตั้งตรง สูงได้ถึง 15 – 20 เซนติเมตร มีกาบใบโอบหุ้มอยู่ กาบใบค่อนข้างเรียบและริมกาบใบมีขน ตัวใบยาวเรียว ยาวประมาณ 1 – 2 เมตร กว้างประมาณ 4 – 18 มิลลิเมตร ส่วนกลางใบกว้างกว่าโคนใบและปลายใบ มีขนเป็นกระจุกอยู่ระหว่างรอยต่อของตัวใบและกาบใบ ออกดอกเป็นช่อยาวประมาณ 5 เซนติเมตร การปลูกหญ้าคาใช้เมล็ดหรือไหล ปลูกง่าย ไม่ต้องมีการบำรุงรักษา เป็นวัชพืชที่พบได้ทั่วไป
ข้อมูลจาก http://admin.pha.nu.ac.th/plant_for_primary_care/UTI/Imperata_cylindrica.htm

แนวทางในการศึกษา
1. ค้นคว้าข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต
2. สอบถามข้อมูลจากผู้ค้าขายวัสดุชนิดนี้ ,ข้อมูลของวัสดุจากผู้ขาย
3. สอบถามข้อดี ข้อเสียจากผู้ที่ใช้งานเอง
4. สอบถามวิธีการทำหลังคาหญ้าคา

เหตุผลที่จะศึกษา
1. เพื่อต้องการทราบข้อมูลหลังคาหญ้าคา
2. ขาข้อดี-ข้อเสียของหลังคาหญ้าคา
3. หาข้อสรุปว่าทำไมจึงใช้หลังคาหญ้าคา

กระบวนการศึกษา
1.ค้นคว้าข้อมูลในภาพรวมจากอินเตอร์เน็ต
2.ทำการสอบถามข้อมูลจากผู้ประกอบการหรือผู้ที่ค้าขายสินค้าประเภทนี้
3.รวบรวมข้อมูลครั้งที่หนึ่ง และสรุปข้อมูลที่ทำการสอบถามจากผู้ประกอบการ
4.ทำแบบสอบถาม หรือเข้าไปสอบถามด้วยตนเองจากผู้ใช้งานวัสดุชนิดนี้ ที่สุ่มเลือกจากผู้ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก
5.รวบรวมข้อมูลครั้งที่สอง และสรุป ข้อมูลที่สอบถามจากผู้ใช้งานวัสดุประเภทนี้
6.ถ่ายรูป รวบรวมรูปภาพ และสรุปผลการศึกษา
Post script*กระบวนการศึกษานี้จำเป็นจะต้องได้รับคำปรึกษาของอาจารย์ด้วย

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทำให้ผู้ศึกษามีความกระตือรือร้นและรับผิดชอบในการทำงานมากขึ้น
2.ได้รับข้อมูล(คุณสมบัติ)ที่ถูกต้อง จากการไปสอบถามข้อมูลจากสถานที่จริง
3.ได้รับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่ใช้งานจริง ว่าวัสดุที่ศึกษามีข้อดี ข้อเสียอย่างไร
4.สามารถนำสิ่งที่ศึกษามาปรับใช้ในการเรียนได้
5.ได้รับความสนุกสนาน ในการลงพื้นที่

รูปเรากับเพื่อนๆนะอิอิ

หลังคาหญ้าคากับกระเบื้องลอนคู่


หญ้าคาเป็นพืชล้มลุกที่มีอายุหลายปี มีเหง้าสีขาวแข็งอยู่ใต้ดิน ลำต้นตั้งตรง สูงได้ถึง 15 – 20 เซนติเมตร มีกาบใบโอบหุ้มอยู่ กาบใบค่อนข้างเรียบและริมกาบใบมีขน ตัวใบยาวเรียว ยาวประมาณ 1 – 2 เมตร กว้างประมาณ 4 – 18 มิลลิเมตร ส่วนกลางใบกว้างกว่าโคนใบและปลายใบ มีขนเป็นกระจุกอยู่ระหว่างรอยต่อของตัวใบและกาบใบ ออกดอกเป็นช่อยาวประมาณ 5 เซนติเมตร การปลูกหญ้าคาใช้เมล็ดหรือไหล ปลูกง่าย ไม่ต้องมีการบำรุงรักษา เป็นวัชพืชที่พบได้ทั่วไป
ข้อมูลจาก http://admin.pha.nu.ac.th/plant_for_primary_care/UTI/Imperata_cylindrica.htm

แนวทางในการศึกษา
1. ค้นคว้าข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต
2. สอบถามข้อมูลจากผู้ค้าขายวัสดุชนิดนี้ ,ข้อมูลของวัสดุจากผู้ขาย
3. สอบถามข้อดี ข้อเสียจากผู้ที่ใช้งานเอง
4. สอบถามวิธีการทำหลังคาหญ้าคา

เหตุผลที่จะศึกษา
1. เพื่อต้องการเปรียบเทียบหลังคาหญ้าคากลับกระเบื้องลอนคู่
2. ขาข้อดี-ข้อเสียของหลังคาทั้ง 2 ชนิด
3. หาข้อสรุปว่าทำไมจึงใช้หลังคาหญ้าคา

กระบวนการศึกษา
1.ค้นคว้าข้อมูลในภาพรวมจากอินเตอร์เน็ต
2.ทำการสอบถามข้อมูลจากผู้ประกอบการหรือผู้ที่ค้าขายสินค้าประเภทนี้
3.รวบรวมข้อมูลครั้งที่หนึ่ง และสรุปข้อมูลที่ทำการสอบถามจากผู้ประกอบการ
4.ทำแบบสอบถาม หรือเข้าไปสอบถามด้วยตนเองจากผู้ใช้งานวัสดุชนิดนี้ ที่สุ่มเลือกจากผู้ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก
5.รวบรวมข้อมูลครั้งที่สอง และสรุป ข้อมูลที่สอบถามจากผู้ใช้งานวัสดุประเภทนี้
6.ถ่ายรูป รวบรวมรูปภาพ และสรุปผลการศึกษา
Post script*กระบวนการศึกษานี้จำเป็นจะต้องได้รับคำปรึกษาของอาจารย์ด้วย

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทำให้ผู้ศึกษามีความกระตือรือร้นและรับผิดชอบในการทำงานมากขึ้น
2.ได้รับข้อมูล(คุณสมบัติ)ที่ถูกต้อง จากการไปสอบถามข้อมูลจากสถานที่จริง
3.ได้รับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่ใช้งานจริง ว่าวัสดุที่ศึกษามีข้อดี ข้อเสียอย่างไร
4.สามารถนำสิ่งที่ศึกษามาปรับใช้ในการเรียนได้
5.ได้รับความสนุกสนาน ในการลงพื้นที่

พื้นไม้ลามิเนต

เหตุผลที่เลือกหัวข้อนี้มาทำการศึกษาค้นคว้ามีดังนี้
1. เพราะเหตุใดจึงนิยมใช้ไม้ลามิเนต
2. อยากทราบรายละเอียดของวัสดุว่าทำจากอะไร มีวิธีการทำอย่างไร
3. การนำไปใช้ในงานก่อสร้าง

กระบวนการศึกษา:
1. หาข้อมูลเกี่ยวกับพื้นไม้ลามิเนตและไม้จริงว่ามีคุณสมบัติต่างกันอย่างไร
2. สอบถามผู้ใช้
3. วิเคราะห์ข้อมูล
4. ประเมินผลการศึกษาค้นคว้า

ผลลัพธ์:
1. ได้ความเข้าใจในเรื่องของพื้นไม้ลามิเนต
2. ได้ความรู้การนำวัสดุเข้มมาใช้ในการออกแบบงาน Design

ความรู้เรื่งไม้ลามิเนต

พื้นไม้ลามิเนต (Laminate Flooring) ถือกำเนิดขึ้นครั้งแรกเมื่อ ค.ศ.1977 ต่อมาได้แพร่หลายเข้าไปในประเทศกลุ่มยุโรป (European Union) โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ใน อุตสาหกรรมผลิตพื้นไม้มาก่อนได้หันมาพัฒนาผลิตภัณฑ์พื้นไม้ลามิเนตเพื่อประโยชน์ในเชิง พาณิชย์มากขึ้นจนกระทั่งได้มีการรวมตัวกันของผู้ผลิตก่อตั้งสมาคมพื้นไม้ลามิเนตแห่งยุโรป ( European Producers Laminate Flooring:EPLF ) ขึ้นในปี 1994 ณ.กรุงบอนน์ ประเทศเยอรมนี HARO Laminated Flooring โดย HAMBERGER INDUSTRIEWERKE GmbH ร่วมเป็นหนึ่งใน สมาชิกก่อตั้ง ซึ่งทางสมาคมจะยอมรับผู้ผลิตพื้นไม้ลามิเนตคุณภาพสูงเข้าเป็นสมาชิกเท่านั้น ปัจจุบันมีสมาชิกประจำได้สิทธิ์สมบูรณ์ 21 บริษัททั่วโลก ในขณะที่มีส มาชิกที่ยังไม่ได้สิทธิ์สมบูรณ์อีกกว่า 50 บริษัท มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินงานดังต่อไปนี้
ส่งเสริม สนับสนุน การวิจัย การพัฒนา และกำหนดมาตรฐานพื้นไม้ลามิเนต

เป็นสถานที่ติดต่อกันระหว่าง ผู้เชี่ยวชาญ และสถาบันทดสอบ

ควบคุมอนามัย และคุณภาพด้านสิ่งแวดล้อมของผลิตภัณฑ์

อธิบายให้ผู้บริโภคเข้าใจถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากผลิตภัณฑ์

สร้างความเข้าใจอันดีระหว่างผู้บริโภคกับผู้ผลิต ถึงมาตรฐานและสิทธิเรียกร้องเมื่อมีปัญหา

Hello world!

Welcome to WordPress.com. This is your first post. Edit or delete it and start blogging!